กิโยตีน

กิโยตีน นั้นเป็นชื่อเรียกของอุปกรณ์การประหารชีวิตของฝรั่งเศส ที่ถูกประดิษฐ์ขึ้นในช่วงการปฏิวัติฝรั่งเศสเพื่อใช้ตัดคอนักโทษ กิโยตีนนั้นประกอบโครงโดยส่วนมากจะเป็นไม้ ไว้สำหรับแขวนใบมีดรูปสี่เหลี่ยมคางหมู น้ำหนักประมาณ 40 กก. เป็นใบมีดจะถูกแขวนไว้ในส่วนบนสุด ภายใต้ใบมีดนั้นจะเป็นส่วนที่ให้ผู้ถูกลงโทษวางศีรษะ เมื่อเชือกได้ถูกปล่อยหรือตัดลงไป ใบมีดที่หนักจะหล่นลงไม้ในระยะทางประมาณ 2.3 เมตร และตัดศีรษะผู้ที่ถูกประหาร

เครื่องประหาร กิโยตีน

กิโยตีน
ภาพการกิโยตีน

ในประเทศฝรั่งเศสได้ชื่อว่าเป็นประเทศแรกที่ใช้การประหารชีวิตด้วยกิโยตีน นายนีกอลา ฌัก แปลตีแย โจรปล้นที่สัญจรถูกประหารชีวิตด้วยกิโยตีนเป็นคนแรกเมื่อวันที่ 25 เมษายน ปีค.ศ. 1792 ในช่วงเวลาใกล้เคียงกันในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 16 ในสหราชอาณาจักร นั้นมีเครื่องลงโทษลักษณะที่คล้ายกันชื่อกรงเหล็กตะแลงแกง และมีเครื่องลงโทษลักษณะที่คล้ายกันในประเทศอิตาลีและสวิตเซอร์แลนด์

นายแพทย์อ็องตวน หลุยส์ สมาชิกสมาคมศัลยศาสตร์ ซึ่งเป็นบุคคลที่คิดค้นการทำงานของเครื่องกิโยตีน โดยเครื่องกิโยตีนตอนแรกได้ใช้ชื่อที่ว่า ลูยซง หรือลูยแซ็ต แต่ได้ถูกเปลี่ยนชื่อเป็น “กิโยตีน” ในตามชื่อของ ดร.โฌแซ็ฟ-อีญัส กียอแต็ง เป็นแพทย์ชาวฝรั่งเศสเป็นผู้เสนอแนะการประหารชีวิตโดยการตัดคอ ในภายหลัง ดร.กิโยตีน ก็ได้เปลี่ยนนามสกุล เนื่องจากไม่ต้องการใช้ชื่อสกุลเป็นคำเดียวกับวิธีการที่ประหารชีวิต ทั้งนี้ก่อนการปฏิวัติฝรั่งเศส ผู้มีชื่อเสียงก็มักถูกตัดคอโดยดาบหรือขวาน

กิโยตีน
ภาพการกิโยตีน

ในขณะที่ชาวบ้านทั่วไปมักจะถูกแขวนคอ หรือวิธีการประหลาดต่าง ๆ ในช่วงของยุคกลางนั้น ในการตัดคอ มีหลายครั้งที่ตัดคอนั้นไม่สำเร็จในดาบแรก ก็ทำให้เกิดความทรมานต่อผู้ถูกประหารชีวิต การใช้กิโยตีนนั้นจะทำให้ผู้ถูกประหารชีวิตเจ็บปวดน้อยที่สุด ซึ่งในช่วงปฏิวัติฝรั่งเศส มีผู้ถูกประหารชีวิตด้วยกิโยตีนอย่างน้อย 20,000 คน ซึ่งโดยการประหารด้วยกิโยตีนถือเป็นที่สนใจของบุคคลทั่วไปเช่นกัน

กิโยตีนนั้นถือเป็นเครื่องประหารชนิดเดียวที่ถูกกฎหมาย จนกระทั่งยกเลิกกฎหมายที่ประหารชีวิตในปี ค.ศ. 1881 อย่างไรก็ตาม ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ในทวีปยุโรปได้ตกอยู่ภายใต้การยึดครองของนาซีเยอรมนี นาซีได้นำเครื่องกิโยตีนมาใช้ในการประหารชีวิตสำหรับผู้ที่ต่อต้านระบอบนาซีในเยอรมนี บุคคลสุดท้ายที่ถูกประหารชีวิตด้วยกิโยตีนคือ นาย ออยเกิน ไวด์มันน์ ฆาตกรสังหาร 5 ศพชาวเยอรมัน โดยถูกตัดศีรษะเมื่อวันที่ 17 มิถุนายน ปีค.ศ. 1939 ในเวลา 16.32 น. ภายนอกคุกแซ็ง-ปีแยร์ ที่เมืองแวร์ซาย

🔎 🔎 🔎 🔎 🔎 🔎 🔎 🔎 🔎 🔎 🔎 🔎 🔎 🔎 🔎 🔎 🔎 🔎 🔎 🔎 🔎 🔎 🔎 🔎 🔎 🔎 🔎 🔎 🔎 🔎 🔎 🔎 🔎

เรื่องราวของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยคลิก รัฐธรรมนูญไทย

โดย เว็บคาสิโนออนไลน์อันดับ1

🔎 🔎 🔎 🔎 🔎 🔎 🔎 🔎 🔎 🔎 🔎 🔎 🔎 🔎 🔎 🔎 🔎 🔎 🔎 🔎 🔎 🔎 🔎 🔎 🔎 🔎 🔎 🔎 🔎 🔎 🔎 🔎 🔎