ยุคหิน

ยุคหิน เมื่อสมัยก่อนยังไม่มีตัวอักษรให้บันทึกเรื่องราวเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ จะศึกษาเรื่องราวโดยอาศัย หลักฐาน
ทางโบราณคดี ไม่ว่าจะเป็นเครื่องมือ เครื่องใช้ เครื่องประดับ หรือภาพตามฝาผนังถ้ำ  อื่นๆอีกมากมาย โดยสมัยก่อน ประวัติศาสตร์ได้แบ่งเป็น 2 ยุค ได้แก่ยุคหิน และยุคโลหะ  และยุคหิน และต่อมาทางประวัติศาสตร์ได้แบ่งเป็น3 ยุค ก็คือยุค ยุคหินเก่า หินกลาง หินใหม่

🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃

ยุคหิน
มนุษย์ยุคหิน

🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃

ยุคหิน

ในประเทศไทย สมัยก่อนประวัติศาสตร์ในดินแดนประเทศไทยในช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ได้มีการทำสงครามกัน และได้ศึกษาอย่างจริงจังในระยะเวลา 50 ปี มานี้เองนับหลังจาก ค.ศ. 2545  โดยแบ่งยุคหิน เป็น 3 ยุค  โดยมี

ยุคหินเก่า อายุระหว่าง  2,000,000 – 8,000 ปี การขุดค้นทางโบราณคดี ยังพบเครื่องมือหินกรวด แบบกระเทาะหน้าเดียว มีขนาดใหญ่ แต่ยีงไม่พบโครงกระดูกของมนุษย์   มนุษย์ยุคหินเก่า จะอาศัยอยู่ตามถ้ำ ตามเพิงตามภูผา มนุษย์ยุคเก่าจะชอบล่าสัตว์ เก็บผัก เก็บผลไม้ ที่มีอยู่ตามธรรมชาติ เลี้ยงชีวิตและครอบครัว และเมื่อแหล่งอาหารหมด
ก็จะย้ายถิ่นฐานไปเรื่อยๆ ยุคหินเก่าในประเทศไทย มีหลายพื้นที่  ทั้งในเขตที่สูงใกล้ภูเขาและแถบลำน้ำ พบเจอแถวจังหวัดกาญจนบุรี เชียงราย เชียงใหม่ ลำปาง ราชบุรีและลพบุรี  ส่วนแหล่งโบราณคดียุคหินเก่า ก็จะมีแถวบริเวณแม่น้ำแควน้อย ตำบลบ้านเก่า  อำเภอเมืองจังหวัดกาญจนบุรี และบริเวณแม่น้ำโขงแถวๆอำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย 


ยุคหินกลาง มีอายุระหว่าง 8000 พันปี มนุษย์ยุคหินกลาง รู้จักการย้ายที่ตั้งถิ่นฐานออกมาภายนอกถ้ำ  มนุษย์ในยุคนี้มีจำนวนมากกว่ามนุษย์ยุคหิน เพราะว่าวิวัฒนาการที่เปลี่ยนไป มีการปรับปรุงเครื่องมือหินกระเทาะให้ประณีตขึ้น
รู้จักการนำเปลือกหอยมาทำเครื่องมือ เครื่องใช้ สามารถทำเครื่องปั้นดินเผา หม้อ จาน ชาม เอาไว้ใช้เองได้  และพบข้อมูลในประเทศไทยที่ถ้ำพระ อำเภอไทรโยค จังหวัดกาญจนบุรี และที่ถ้ำผี จังหวัดแม่ฮ่องสอน  


ยุคหินใหม่ มีอายุประมาณ 4000 ปี มนุษย์ยุคหินใหม่ในประเทศไทยอพยพเคลื่อนย้ายมาจากที่ต่างๆที่มีระดับความเจริญไม่เท่ากัน มาจากชายฝั่งทะเล และหมู่เกาะ บางกลุ่มย้ายจากตอนเหนือของไทย มนุษย์ยุคหินไม่รู้จักการผลิตอาหารได้เอง สามารถเลี้ยง ตัวเองได้ รู้จักการทำเครื่องนุ่งห่ม และทำเครื่องปั้นดินเผา มนุษย์ยุคหินใหม่รู้จักการ
เพาะปลูก การเลี้ยงสัตว์ ทำให้มนุษย์ยุคหินใหม่ไม่ต้องเร่ร่อนย้ายถิ่นฐานไปตามแหล่งอาหาร ๆ แหล่งโบราณคดียุคหินใหม่ในประเทศไทยที่สำคัญ เช่น แม่น้ำแควน้อย ตำบลบ้านเก่า อำเภอเมืองจังหวัดกาญจนบุรี และที่อำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี


ยุคหิน
วิวัฒนาการ

และนี่ก็คือที่มาของยุคหินในประวัติศาสตร์ไทย ได้รู้เกี่ยวกับความเป็นมา ความเป็นอยู่ของมนุษย์ในอดีต แอดมินหวังว่า คงจะเป็นประโยชน์กับผู้อ่านทุกท่านนะคะ

🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃

อุทยานประวัติศาสตร์ศรีสัชนาลัย สนใจคลิก อุทยานประวัติศาสตร์ศรีสัชนาลัย

สนับสนุนโดย ufathai net

🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃