สงครามอ่าวเปอร์เซีย

สงครามอ่าวเปอร์เซีย หรือสงครามอ่าว (Gulf War) ที่ทางทหารใช่รหัสเรียกชื่อว่า ปฏิบัติการโล่ทะเลทราย (Operation Desert Shield) เกิดขึ้นช่วงระหว่างวันที่ 2 สิงหาคาม – 17 มกราคม 2534 การปฏิบัติการณ์ในครั้งนี้

ได้นำไปสู่การสั่งสมกำลังและการป้องกันของชาวซาอุดิอาระเบีย หลังจากนั้นช่วงระหว่างในวันที่ 17 มกราคม – 28 กุมภาพันธ์ 2534 ก็ได้เกิด ปฏิบัติการพายุทะเลทราย (Operation Desert Storm) ที่เป็นการสู้รบกันในภูมิภาคอ่าวเปอร์เซีย

ของกองกำลังผสมกันจาก 34 ชาติ สงครามนี้เป็นที่รู้จักกันในชื่อ สงครามอ่าวเปอร์เซีย แต่ก็มีชื่อเรียกอื่นๆ อีก เช่น สงครามคูเวต สงครามอ่าวครั้งที่ 1 และสงครามอิรักที่ต่อมาถูกเรียกใช้ว่าการบุกครองอิรักในปี 2546 แทน สงครามนี้ได้มีการถ่ายทอดข่าวสดรายงานสถานการณ์จากแนวหน้าในการสู้รบ โดยเครือข่ายทาง CNN ของสหรัฐ

🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃

สงครามอ่าวเปอร์เซีย สงครามที่มีการสู้รบทางอากาศที่มีความเสียหายมากที่สุด

สงครามอ่าวเปอร์เซีย

🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃

เบื้องหลังการเกิดสงคราม

ตลอดระยะเวลาช่วงที่เกิดสงครามเย็น ขณะนั้นอิรักและสหภาพโซเวียตได้จับมือกันเป็นพันธมิตร และมีประวัติที่ไม่ลงรอยกันกับสหรัฐอเมริกา จึงทำให้สหรัฐกังวนถึงตำแหน่งทางการเมืองของชาวอิสราเอล – ชาวปาเลสไตน์

ในอิรักที่ไม่เห็นด้วยกับสันติภาพระหว่างอิสราเอลกับอียิปต์ จากการที่อิรักได้เข้าสนับสนุนกลุ่มอาหรับ และปาเลสไตน์ให้มีการติดตั้งอาวุธอย่าง อาบูไนดัล จึงทำให้ทางสหรัฐไม่พอใจและได้ประกาศรายชื่อให้อิรักเข้าเป็นกลุ่มประเทศผู้ให้การสนับสนุนการก่อการร้ายข้ามชาติ เมื่อวันที่ 29 ธันวาคม พ.ศ. 2522

ช่วงเริ่มต้นของสงคราม

สงรามอ่าวได้เริ่มต้นชึ้นด้วยการทิ้งระเบิดทางอากาศในวันที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2534 โดยเครื่องบินกองกำลังผสมได้ทำการบินกว่า 1 แสนครั้งพร้อมกับการทิ้งระเบิดกว่า 88500 ตัน ทำให้เกิดความเสียหายแกสิ่งกองสร้างทางทหาร

และพลเรือนเป็นจำนวนมาก การทิ้งระเบิดทางอากาศในครั้งนั้นถูกบัญชาการโดยพลอากาศโทชัค ฮอร์เนอร์ กองทัพอากาศของสหรัฐ หลังจากนั้น 1วันหลังจากที่มีการยื่นเส้นตายตามมติที่ 678 ของกองกำลังผสมทางอากาศ

ขนาดใหญ่ จนได้เกิดเป็นการเริ่มต้นปฏิบัติการพายุทะเลทราย (Operation Desert Storm) จุดประสงค์คือเพื่อเข้าทำลายกองทัพอากาศและฐานทัพต่อต้านทางอากาศยานของอิรัก

ช่วงหลังที่กำลังของศัตรูถูกกำจัด

หลังจากที่กองกำลังผสมในอิรักได้เข้ายึดในพื้นที่ได้สำเร็จ ได้มีการจัดการประชุมเพื่อสันติภาพขึ้น เพื่อหารือข้อตกลงการยุติการหยุดยิงโดยเป็นที่ยินยอมของทั้ง 2 ฝ่าย ในการประชุมครั้งนั้นอิรักได้รับอนุญาตให้สามารถใช้เฮลิคอปเตอร์

ที่ติดตั้งอาวุธได้ในเขตชายแดนของฝั่งตนเพียงชั่วคราว เพื่อที่จะได้ลำเรียงบุคลาการของรัฐบาลและพลเรือนในส่วนภาคต่างๆ ที่ได้รับความเสียหายจากสงครามอ่าว ไม่นานหลังจากนั้นก็ได้เกิดเหตุการณ์ การปะทะกันจนเกิดเป็น

การจลาจลทางตอนใต้ของอิรัก จากเหตุการณ์การจลาจลที่เกิดขึ้นส่งผลให้เกิดเขตห้ามบินขึ้นในทางตอนเหนือและใต้ของอิรัก

🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃

ความสวยงานของสถาปัตยกรรมที่ไม่ควรพลาด คลิ๊ก วัดยานนาวา พระอารามหลวง

สนับสนุนโดย ufa168bet

🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃