กบฏนายสิบ

กบฏนายสิบ เป็นเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ชาติไทยที่เกิดขึ้นในสมัยที่พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 7) หลังจากที่ทรงประกาศการสละราชสมบัติแล้ว ก็ได้เสด็จไปประทับ ณ ประเทศอังกฤษ

การรวมตัวกันของกลุ่มเพื่อก่อการเปลี่ยนแปลงการปกครอง นำโดย สิบเอกสวัสดิ์ มหะมัด ที่เป็นทหารระดับชั้นประทวนได้รวมตัวกันกับทหารในกองพันต่างๆ เพื่อจุดมุ่งหมายที่จะลอบสังหารนายทหารและบุคคลสำคัญต่าง ๆ ในกองทัพบก

โดยพุ่งเป้าไปที่ หลวงประดิษฐมนูธรรม หรือ นายปรีดี พนมยงค์ และเมื่อเริ่มปฏิบัติการก็สามารถจับพันเอกพระยาพหลพลพยุเสนา กับนายยกรัฐมนตรีไว้เป็นตัวประกัน และได้จับตาย พันโทหลวงพิบูลสงคราม หรือจอมพลป. พิบูลสงคราม

🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃🎃 🎃 🎃

กบฏนายสิบ ประวัติศาสตร์ชาติไทยที่พูดถึงการรวมตัวกันของเหล่าทหาร

กบฏนายสิบ

🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃🎃 🎃 🎃

ลำดับเหตุการณที่เกิดขึ้น

เช้ามืดของวันที่ 3 สิงหาคม พ.ศ.2478 ช่วงเวลา 03.00 น. หลังจากที่มีการประกาศการสละราชสมบัติของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 7 แล้วนั้น พระองค์ก็ได้ทรงเสด็จย้ายไปประทับ ณ ประเทศอังกฤษ

ก็ได้เกิดการรวมตัวกันของเหล่าทหารชั้นประทวนในกองพันต่าง ๆ นำโดย สิบเอกสวัสดิ์ มหะมัด จุดมุ่งหมายในการรวมตัวกันในครั้งของเหล่าทหารก็เพื่อก่อการให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางการปกครอง ขณะที่เริ่มปฏิบัติการ

ของกลุ่มทหารก็ได้พุ่งเป้าไปที่ หลวงประดิษฐมนูธรรม(นายปรีดี พนมยงค์)ให้มีการจับตาย หลังจากนั้นไม่นานเหล่าทหารก็สามารถจับกุมตัว พันเอกพระยาหลพลพยุหเสนากับนายกรัฐมนตรีไว้เป็นตัวประกันไว้ได้สำเร็จ

และสามารถจับตาย พันโทหลวงพิบูลสงคราม (จอมพลป. พิบูลสงคราม)ได้อีกด้วย โดยแผนการในครั้งนั้นเหล่าทหารจะยึดสถานที่ ที่ว่าการกระทรวงกลาโหมไว้เป็นฐานบัญชาการ และให้มีการปลดปล่อยตัวนักโทษทางการเมื่องต่าง ๆ อีกด้วย

เพื่อที่จะได้ไว้ใช้เป็นกองกำลังช่วยเหลือได้ จากนั้นก็จะอัญเชิญพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 7 นิวัติคืนกลับสู่พระนคร และให้พระองค์ทรงเสด็จขึ้นครองราชอีกครั้ง แต่ถ้าว่ารัฐบาลกลับล่วงรู้แผนการนี้ไว้ได้ก่อน

จึงทำให้ปผนการนี้ล้มเหลวไม่สามารถดำเนินการตามแผนที่ว่างไว้ได้ และยังถูกจับกุมตัวไว้ได้ ในวันที่ 3 สิงหาคาม ช่วงเวลา 12.00 น. จากนั้นได้มีการตั้งศาลพิเศษพิจารณาคดีฝ่ายกบฏ ส.อ.สวัสดิ์ มหะมัด

และถูกตัดสินประหารชีวิต โดยการพิจาราณคดีของศาลในครั้งนี้ ไม่มีการตั้งทนาย ไม่มีการยื่นอุทรณ์ ไม่มีฎีกา และยังมีการตั้งผู้พิพากษาได้เองตามใจอีกด้วย แนวคิดในการก่อตั้งการกบฏในครั้งนี้ได้เกิดขึ้นที่กองพันทหารราบที่ 2

ภายใต้การบังคับบัญชาของ พันตรีหลวงประหารริปู ผู้ที่ริเริ่มแนวความคิดนี้ คือ นายสิบจำนวน 8 คน ซึ่งหลังจากที่ถูกจับกุมตัวได้ทั้งหมด ใน 8 คนนี้ ไม่มีใครให้การซัดทอดหาใครทั้งสิ้น

🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃🎃 🎃 🎃

ประวัติความเป็นมาของวัดเก่าแกในจังหวัดพะเยา คลิ๊ก วัดนันตาราม วัดเก่าแก่จังหวัดพะเยา

สนับสนุนโดย บาคาร่า 168

🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃🎃 🎃 🎃