สงครามกลางเมืองศรีลังกา

สงครามกลางเมืองศรีลังกา จากเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นทำให้มีการประชุมของคณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งประชาชาติ เมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ์ สมัยที่ 46 จนไปสิ้นสุดลงในวันที่ 23 มีนาคมนั้น ความน่าสนใจหนึ่งในวาระนั้นคือ

กรณีการเกิดสงครามกลางเมืองศรีลังกา ที่ถูกหยิบยกขึ้นมาพิจารณา ซึ่งทางคณะทำงานในสหประชาชาติได้นำเสนอไปก่อนหน้านี้ว่า จากมติในที่ประชุมเพื่อดำเนินการเข้าไปตรวจสอบเหตุอันความขัดแย้งนองเลือด

ที่กินเวลาอย่างยาวนานของผู้ที่กระทำผิดและมาตรการการเยียวยาของผู้ที่มีผลกระทบนั้น  ซึ่งทางรัฐบาลศรีลังกาก็ได้ออกมาประกาศก่อนล่วงหน้าแล้วว่า ไม่ว่าองค์กรใด ๆ ก็ไม่มีสิทธิ์ที่จะเข้าไปยุ่งเกี่ยว และยังขู่ถอนตัวออกจากการเป็นสมาชิกอีกด้วย

🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃🎃 🎃 🎃

เส้นทางความขัดแย่งทางเชื้อชาติ สงครามกลางเมืองศรีลังกา

สงครามกลางเมืองศรีลังกา

🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃🎃 🎃 🎃

เส้นทางการเกิดความขัดแย้ง

จากการบันทึกทางประวัติศาสตร์ของศรีลังกาที่ได้เริ่มบันทึกไว้เมื่อช่วงศตวรรษที่ 6 ก่อนคริสตกาลนั้น ชาวสิงหลจากทางตอนเหนือของประเทศอินเดียได้อพยพเดินทางมายังเกาะแห่งนี้ และได้ตั้งเป็นอาณาจักรทัมบาปันนี

ในเวลาต่อมา จากนั้นในช่วงศตวรรษที่ 4 ก่อนคริสตกาล ก็ได้เกิดอาณาจักรอนุราธปุระขึ้นและได้อยู่ยืนยงจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 11 ทั้งนี้เนื่องจาก พระมหิทเถระ โอรสของพระเจ้าอโศกมหาราชได้ทรงนำศาสนาพุทธ

เข้ามาเผยแผ่ในช่วงศตวรรษที่ 3 ก่อนคริสตกาล และยังถือได้ว่าเป็นศาสนาหลักที่มีการนับถือของชาวศรีลังการส่วนใหญ่ในปัจจุบัน(ประมาณ 70 เปอร์เซ็นต์ จากประชากรจำนวนกว่า 22 ล้านคน) อีกด้วย

หลังจากนั้นในราวศตวรรษที่ 2 ก่อนตริสตกาลได้มีชาวทมิฬที่อพยพมาจากอินเดียทางตอนใต้ได้เริ่มข้ามเข้ามายังเกาะศรีลังกา และการอพยพเข้ามาครั้งใหญ่ที่สุดเกิดขึ้นในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 7-11

ได้ไปรวมตัวกันก่อตั้งถิ่นฐานทางด้านตอนเหนือของเกาะ จนมีความเจริญรุ่งเรืองจนกลายเป็นอาณาจักรจาฟฟ์นา เมื่อต้นคริสต์ศควรรษที่ 16 พื้นที่ชายฝั่งได้ถูกยึดครองโดยโปรตุเกตุก่อนที่จะค่อย ๆ ได้ดินแดนมากขึ้นเรื่อย ๆ

จนตอนกลางคริสต์ศตวรรษที่ 17 ก็ได้เสียดินแดนเหล้านี้ให้กับเนเธอร์แลนด์ของทางฝั่งยุโรป มีเพียงอาณาจักรเดียวที่อยู่รอดคือแคนดี แต่ถ้าว่าแล้วก็ต้องตกเป็นของอังกฤษทั้งหมด ในปีค.ศ. 1815

และได้เปลี่ยนเมืองหลวงอย่างแคนดีเป็นโคลัมโบแทน ต่อมาศรัลังกาได้รับความเป็นเอกราชจากอังกฤษ จึงได้ตั้งเป็นสาธารณรัฐ หลังจากที่ได้รับเอกราชจากอังกฤษ ในตอนนั้นรัฐบาลส่วนใหญ่ที่เป็นคนชาวสิงหล

ก็ได้ผ่านกฎหมายหลายฉบับด้วยกันที่จะกีดกันชาวทมิฬ โดยเฉพาะชาวทมิฬที่อังกฤษนำเข้ามาจากอินเดีย โดยได้ให้มีการกำหนดภาษาสิงหลเป็นภาษาประจำชาติ และให้ชาวทมิฬออกจากงานราชการทั้งหมด

ไม่ให้สัญชาติแก่ชาวทมิฬที่มาจากอินเดียถึงประมาณ 7 แสนคน จนทำให้นำปสู่หนทางความขัดแย้งทางเชื้อชาติ และได้เริ่มมีขบวนการแบ่งแยกดินแดนพยัคฆ์ทมิฬอีแลมขึ้นในปี ค.ศ. 1975

🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃🎃 🎃 🎃

ต้นกำเนิดของบริษัทพลังงานระดับโลก คลิ๊ก John D. Rockefeller

สนับสนุนโดย ufa168bet

🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃🎃 🎃 🎃