บาดแผลแห่งความเชื่อ วัฒนธรรมของการขริบ

บาดแผลแห่งความเชื่อ วัฒนธรรมของการขริบ การขริบนั้นมีทุกเชื้อชาติ และพบได้ตามหลากหลายศาสนา สะท้อนให้เห็นถึงพิธีกรรมของการก้าวเป็นชายชาตรี วันนี้แอดมินเลยจะมาบอกเล่าถึงวัฒนธรรมเหล่านี้กันค่ะว่ามีที่มาที่ไปอย่างไร มีความสำคัญอย่างไรบ้าง แต่ก่อนอื่นเลยแอดมินอยากจะขอแนะนำบทความดี ๆ ที่น่าสนใจอย่าง แหล่งแม่น้ำที่สำคัญของโลก และขอขอบคุณทาง คาสิโนออนไลน์ ที่สนับสนุนบทความสาระความรู้ของทางเราด้วยนะคะ

🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃

บาดแผลแห่งความเชื่อ วัฒนธรรมของการขริบ

บาดแผลแห่งความเชื่อ วัฒนธรรมของการขริบ
วัฒนธรรมของการขริบ

ความเชื่อ เป็นสิ่งสำคัญที่ทำให้มนุษย์ก้าวมาในจุดที่เป็นอยู่ทุกวันนี้ สังคมของมนุษย์เรานั้นขับเคลื่อนด้วยความเชื่อมานานหลายพันปี ศาสนา ประเทศชาติ และความสำนึกในความเป็นชาติล้วนเกิดขึ้นจากจินตนาการที่ทุกคนมีร่วมกัน แต่ความเชื่อนั้นก็มีด้านมืดเช่นกัน ในยุคกลางผู้หญิงหลายคนถูกฆ่าเพียงเพราะหลายคนเชื่อว่าพวกเธอคือแม่มด ในช่วงสงครมโลกครั้งที่สองก็เป็นความเชื่อเกี่ยวกับชาติพันธุ์จนมาสู่การล้างชาวยิวของค่ายนาซี

ในศตวรรษที่ 21 ในหลายความเชื่อถูกลบไปจากความรู้ทางวิทยาศาสตร์แต่ก็มีความเชื่อที่หลุดรอดมา หนึ่งในนั้นคือความเชื่อเรื่องการขริบ หรือการชิ้นส่วนของอวัยเพศผู้ชาย เพราะมีความเชื่อว่านี่จะเป็นการก้าวข้ามสู่การเป็นชายชาตรี ทางแถบแอฟริกาในช่วงเช้าของการทำพิธีกรรมจะมีการแห่ด้วยความครื้นเครงอย่างสนุกสนานของเหล่าผู้ชาย เด็กผู้ชายที่ต้องเตรียมตัวทำพิธีในวันนี้จะเปลื้องเสื้อผ้าพร้อมเข้ารับการขริบในลานพิธี ซึ่งพิธีกรรมเหล่านี้มักพบได้ส่วนใหญ่ในประเทศเคนย่า เป็นต้น

ภาพจากโบราณ

ในประเทศทางเอเชียอย่างฟิลิปปินส์ทุกเดือนมิถุนายนจะได้ยินเสียงร้องระงมด้วยความเจ็บปวดของเหล่าเด็กผู้ชาย ที่พ่อแม่พามาที่คลินิกเพื่อทำการขริบเป็นอิทธิพลที่ได้รับเข้ามาจากศาสนาอิสลาม และรัฐบาลก็ได้มีการสนับสนุนในการขริบฟรีในแต่ละชุมชนอีกด้วย นอกจากการขริบในเพศชายแล้วก็ยังมีการขริบในเพศหญิงด้วยเช่นกันที่แต่ก่อนนั้นก็ได้รับมาจากความเชื่อต่าง ๆ แต่ในตอนนี้นั้นการขริบของผู้หญิงดูเหมือนจะลดน้อยลงแล้วหากเทียบเท่าแต่ก่อน

ได้รับรองทางการแพทย์

แต่หากในบางครอบครัวที่ยังเคร่งทั้งมาจากความเชื่อ ศาสนา และวัฒนธรรมของประเทศชาติก็มักจะพาลูกสาวข้ามประเทศไปยังที่ที่เขานั้นไม่เคร่งเท่าไหร่นัก ในผู้ชายมีเหตุผลทางการแพทย์รับรองว่าสามารถทำได้ และเป็นสิ่งที่ดีทางสุขภาพแต่ในผู้หญิงถือว่าเป็นการล่วงละเมิดทางเพศ และเป็นการทำร้ายจิตใจผู้หญิงที่ไม่สามารถจะรื้อฟื้นจิตใจให้กลับมาสภาพดังเดิมได้ จึงได้มีการรณรงค์ในประเทศที่ยังทำอยู่นั้นเข้าใจในสิทธิของผู้หญิงมากขึ้น

🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃