ตะเกียงโรมันสำริด

ตะเกียงโรมันสำริด วันนี้แอดมินจะพาทุกท่านมาศึกษาค้นหาเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ไทย ที่มีมาตั้งแต่โบราณ และสืบทอดมาจนถึงในปัจจุบันนี้ อยู่ในวันนี้แอดมินจะพาทุกท่านไปที่จังหวัดกาญจนบุรี เป็นอีกหนึ่งจังหวัดที่มีเรื่องราวทางด้านประวัติศาสตร์มากมาย เพราะว่าเป็นจังหวัดที่มีการทำสงคราม และมีการสู้รบกันเป็นจำนวนหลายครั้งหลายคราว กว่าจะมีวันนี้ได้ และก็ไม่ต่างอะไรกับเมืองล้านนากว่าจะมีวันนี้ เราไปอ่าน ประวัติความเป็นมาของจังหวัดเชียงราย กันเลยค่ะ ว่าทำสงครามมากี่ครั้งกว่าจะมีวันนี้ และจะขาดไม่ได้ถ้าไม่มีผู้สนับสนุนที่ใจดีอย่าง คาสิโนออนไลน์777 ที่พาเราไปศึกษาประวัติศาสตร์ต่างๆ และรายได้ดีๆ

🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃🎃 🎃 🎃

ตะเกียงโรมันสำริด

🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃🎃 🎃 🎃

ตะเกียงโรมันสำริด
ลักษณะตะเกียง

วันนี้แอดมินจะพาทุกท่านไปที่ในตำบลคงตึก อำเภอเท่ามะกา จังหวัดกาญจนบุรีนั่นเอง ซึ่ง ประวัติศาสตร์ไทยวันนี้
สิ่งที่แอดมินจะพาทุกท่านไปศึกษาค้นหา เกี่ยวกับตะเกียง ซึ่งเป็นโบราณวัตถุชิ้นสำคัญ ที่ค้นพบได้ในประเทศไทยในจังหวัดกาญจนบุรี และเป็นจังหวัดเดียวที่มีวัตถุโบราณชิ้นนี้ และขุดค้นพบเจอเมื่อปีพุทธศักราช2470 โดย ในสมัยก่อน พุทธะศตวรรษที่11 ของเมืองพงตึก ที่นี่จะเป็นชุมชนสมัยทวาราวดีที่มีความเจริญรุ่งเรืองเป็นอย่างมาก เป็นสถานที่ที่ค้าขาย และเป็นสถานที่แห่งประวัติศาสตร์ โดยในสมัยก่อน ตั้งแต่มียุคของมนุษย์เกิดขึ้น  ทุกอย่างข้าวของเครื่องใช้ได้มีการ จัดทำขึ้นมาเพื่อประโยชน์ในการใช้สอยได้สะดวกมากยิ่งขึ้น

ไม่ว่าจะเป็นภาชนะ เครื่องประดับ เสื้อผ้า เครื่องนุ่งห่ม และสิ่งต่างๆอีกมากมาย โดยในสมัยก่อนจังหวัดกาญจนบุรี
เป็นจังหวัดที่มีการค้าขาย เป็นจำนวนมากจะมีพ่อค้า แม่ค้า เข้ามาทำการค้าขาย เพราะเป็นจังหวัดที่ติดกับประเทศเพื่อนบ้าน และในปัจจุบันได้มีการพบหลักฐานทางศิลปะเป็นจำนวนมาก ในแถว แม่น้ำแควน้อย  แม่น้ำแควใหญ่ ซึ่งเป็นแหน่งทำมาค้าขายของคนในสมัยก่อน และยังได้พบกับวัตถุดิบ โบราณและโบราณสถานเป็นจำนวนมากไม่ว่าจะเป็นพระพุทธรูป พระวิหาร พระเจดีย์หักพัง และอุปกรณ์เครื่องใช้ต่างๆภาชนะโบราณต่างๆ รวมไปถึงตะเกียงนี้ด้วย ที่มีอายุโดยประมาณเกือบหนึ่งพันปี และยังเป็นโบราณวัตถุที่มีขาและเป็นโบราณวัตถุที่มีความเก่าแก่มาก

ตะเกียงโบราณ

และตะเกียงนี้เป็นโบราณวัตถุชิ้นสำคัญ และได้นำเข้าไปที่กรมศิลปากรเป็นที่เรียบร้อยในปีพุทธศักราช 2470 แม้ได้
มีการจัดแสดงโชว์ โบราณวัตถุชิ้นนี้ที่พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติพระนคร  และโดยการสันนิษฐานว่าชิ้นนี้มาจากประเทศอียิปต์ ตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 6  และคาดว่าน่าจะเป็นพ่อค้าชาวประเทศอินเดียที่นำมาค้าขายในประเทศไทย ตั้งแต่ยุคสมัยก่อน โดยตัวลักษณะจะเป็นทรงกลมด้านบนมีฝาปิดเอาไว้ใส่น้ำมัน และมีใส่จุดไฟ และจะมีสัญลักษณ์หรือ
มีลาย เป็นรูปปลาปาโลมา จำนวนสองตัวสองตัว ซึ่งเป็นเครื่องหมาย หรือสัญลักษณ์ของทะเลนั่นเอง  มวยจากมีความยาว ประมาณ 31 เซนติเมตร และมีความสูงโดยประมาณ 28 เซนติเมตร ซึ่งมีรูปร่างและรูปลักษณ์ที่มีความสวยงาม
ผู้ที่มีความสนใจ และอยากจะเห็นของจริงสามารถมาดูได้ที่พิพิธภัณฑ์พระนคร จะมีการจัดแสดงโชว์วัตถุชิ้นนี้อยู่

🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃 🎃🎃 🎃 🎃